Main Menu

***ชมรมอนุรักษ์ 2 จังหวะ อุตรดิตถ์ (ททท.) ***

เริ่มโดย sodaban, กรกฎาคม 09, 2010, 01:23:02 ก่อนเที่ยง

หัวข้อก่อนหน้า - หัวข้อถัดไป

0 สมาชิก และ 4 ผู้มาเยือน กำลังดูหัวข้อนี้

somrat

อ้างจาก: sodaban เมื่อ พฤศจิกายน 09, 2013, 09:49:22 ก่อนเที่ยง








สภาพนี้ ค่าตัวน่าจะอยู่ที่เท่าไร? ถึงจะเหมาะสมครับ...


2999 ไทยบาท คับพี่ต้อง รถอยู่ที่ไหนคับ ผมจะมาใส่อาม ZX สักหน่อยคับพี่ อิอิอิ

JO WANGPONG



kagwangpong

อ้างจาก: sodaban เมื่อ พฤศจิกายน 09, 2013, 09:49:22 ก่อนเที่ยง








สภาพนี้ ค่าตัวน่าจะอยู่ที่เท่าไร? ถึงจะเหมาะสมครับ...


จัดเลยพี่ต้องขีสบายๆอิๆๆ

sodaban

ตอนขี่นะสบายครับ แต่อนาคต(ค่าซ่อม) ที่เห็นก่อนจะได้ขี่ น่าจะไกล จนขนลุก เลยละครับ จึ๋ย ๆ ....
"ขอความร่วมมือกัน ให้ใช้ภาพลายเซนต์ที่ไม่ใหญ่เกินไป และ ลิงค์ที่มากจนเกินไป"
http://image.ohozaa.com/main/http://apps.dlt.go.th/carpending/

somrat

ดัน ๆ คับพี่ต้อง ขอให้ได้ ขอให้โดน อิอิอิอิ

sodaban

"ขอความร่วมมือกัน ให้ใช้ภาพลายเซนต์ที่ไม่ใหญ่เกินไป และ ลิงค์ที่มากจนเกินไป"
http://image.ohozaa.com/main/http://apps.dlt.go.th/carpending/

Tree khonwan

แต่ดูจากสภาพแล้ว ต้อ งเป็นนักปั้นจริงๆถึงจะ เอาอยู่     :(

somrat


somrat

อ้างจาก: sodaban เมื่อ พฤศจิกายน 09, 2013, 06:40:08 หลังเที่ยง
อ้างจาก: somrat เมื่อ พฤศจิกายน 09, 2013, 05:10:46 หลังเที่ยง
ดัน ๆ คับพี่ต้อง ขอให้ได้ ขอให้โดน อิอิอิอิ

เชียร์ ดีจิงๆ เลยขานี้ ...

อันที่จิงผมชอบดันมากกว่าคับ อิอิิอิ

sodaban

อ้างจาก: Tree  khonwan เมื่อ พฤศจิกายน 09, 2013, 07:15:09 หลังเที่ยง
แต่ดูจากสภาพแล้ว ต้องเป็นนักปั้นจริงๆถึงจะ เอาอยู่ 

ได้ยินเสียงตังตกเลยครับ สภาพแห้งๆ (ทั้งคัน)อย่างนี้ ฮ่า ๆ ...

อ้างจาก: somrat เมื่อ พฤศจิกายน 09, 2013, 07:47:49 หลังเที่ยง

อันที่จิงผมชอบดันมากกว่าคับ อิอิิอิ

ว่าที่ เฮียดัน อย่างเดียว ใช่ไหมท่านก้อม  มณีแดง สมบูรณ์ หรือ ยังครับ...
"ขอความร่วมมือกัน ให้ใช้ภาพลายเซนต์ที่ไม่ใหญ่เกินไป และ ลิงค์ที่มากจนเกินไป"
http://image.ohozaa.com/main/http://apps.dlt.go.th/carpending/

sodaban

ไปอ่านเจอบทความดีๆ ในการเตรียมตัวจะออกทริป เลยนำมาปรับ ให้เข้ากับการใช้งานของรถพิกัด อย่างเราๆท่านๆ

ลองอ่านดูครับเผื่อ จะมี ข้อคิดดีๆ ที่จะได้นำไปใช้กัน ท่านที่รู้แล้ว ก็นึกเสียว่าทบทวน ท่านที่ยังไม่รู้ ก็จะได้ปรับเตรียมได้ถูก ......


ออกทริปไกลๆยังไง เทคนิคก่อนออกเดินทางไกลๆ

  สวัสดีครับเพื่อนๆ นี่ก็ถึงฤดูการท่องเที่ยวของเหล่าวนักบิด2ล้อ ทั้งเล็กและใหญ่แล้ว เห็นมีเพื่อนๆมือใหม่สอบถามกันมากบ้าง ถึงเรื่องการเตรียมตัว เทคนิคเล็กน้อย ของการออกทริป เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและสนุกสนาน ผมก็เลยต้องเอามะพร้าวห้าวมาขายสวนหรือมาเขียนสอนจระเข้ว่ายน้ำซักหน่อย

เบื้องต้น
1. ศึกษาเส้นทาง ลงทุนซื้อแผนที่หรือดาวโหลดแผนที่ เส้นทาง กันก่อนเดินทาง
2. จดหรือซีรอคแจกทุกคันที่เดินทางไปด้วยกัน
3. กำหนดจุดแวะพัก เติมน้ำมัน ดื่มน้ำ-ทานข้าวกันให้ชัวร์
4. เช็ตกิโลเมตรที่แวะพักไว้เลย ยกตัวอย่างเช่นทุก200Km ปั้มน้ำมันแรกที่เจอทำนองนั้น....
5. ทุกคนต้องทราบเบอร์โทรศัพท์ของกันและกันไว้
6. ทุกคนต้องตรงต่อเวลาและเตรียมพร้อม ตรวจเช็คสภาพรถดีแล้ว
7. สำรองที่พักก่อนออกเดินทาง ในกรณีที่นอนโรงแรมหรือ อุทยานแห่งชาติที่ต่างๆ
8. เงิน..ใครคิดว่าไม่สำคัญ ทุกคนต้องพร้อมจะมากน้อยไม่เป็นไรแต่ต้องพร้อมที่จะแชร์กัน เช่นค่าที่พัก ค่าอาหาร หรือ ค่าดื่ม ฉะนั้นเพื่อให้ดูเป็นกลางและยุติธรรม อาจจะต้องเก็บเงินกองกลางไว้ล่วงหน้า ให้ใครซักคนเป็นคนดูแล อาจเป็นเงินจำนวนไม่มากนัก พอกองกลางหมดแล้วค่อยทยอยเก็บกันใหม่ จะได้ไม่ต้องควักกันทุกครั้ง ส่วนเงินค่าน้ำมันก็ตัวใครตัวมัน สำรองกันให้พอจะได้ไม่ต้องไปหยิบยืมใคร เว้นแต่สนิทกันก็แล้วไป
หมายเหตุ..เสริม ก่อนออกเดินทาง อาจจะมีมิตติ้งเล็กนัดเจอกัน กินข้าว เพื่อคุยรายละเอียด แต่ไม่แนะนำให้ดื่มแอลกอฮอล์แบบหนักๆนะครับ กลางคืนพักผ่อนให้พอ ตื่นเช้ามาจะได้สดชื่น เตรียมอุปกรณ์ต่างๆให้พร้อม จะได้ไม่ต้องมาเสียเวลาหา และแนะนำว่าเส้นทางจะใกล้หรือไกล ออกกันแต่เช้าๆจะดีกว่า รถราไม่เยอะ อากาศไม่ร้อน พอเวลาไม่รีบมากจะแวะกันตรงไหนก็ได้ ตำรวจก็ยังไม่ตั้งด่าน โอ้ย..ดีสารพัด!!
อ้อ..อีกอย่างนึง ปัญหานี้ทุกคนต้องเจอ คือ การไม่ตรงต่อเวลา ฉะนั้นคนนำทริปต้องบังคับแต่ละคนให้รักษาเวลา กำหนดเวลาเดินทาง( ล้อหมุน )ให้แน่นอน เลทได้ไม่เกิน30นาที ถ้ามีใครเกินมาไม่ทัน ให้กำหนดจุดนัดที่2ไว้ อาจจะซัก ชานๆเมืองหรือปั้มอะไรซักที่ๆประมาณ70-100Km จากจุดแรก แล้วใครมาไม่ทันจุกแรกให้รีบทำเวลา ไปยังจุดที่2 แทน  เพราะถ้าไม่กำหนดอย่างนี้ ขืนมาช้ากัน2-3คน ก็ไม่ต้องไปกัน เวลาต้องขยับออกไปอีก ฉะนั้นไม่ต้องโกรธกัน" เราต้องไม่เป็นภาระกับคนอื่นๆ"


เตรียมตัวนักบิด
1. ร่างกายพร้อม กินอาหารรองท้องหน่อย นมซักแก้ว กาแฟซักจอก
2. แต่งกายรัดกุม ตามสภาพภาวะเศรษฐกิจ แต่อย่างน้อย หมวกกันน็อคแบบมาตราฐาน ถุงมือแบบแข็งแรงหน่อย( ไม่แนะนำถุงมือใหม่เพราะยังไม่เข้าที่) เสื้อเจ็กเก็ตหนาๆ  กางเกงยีนส์ รองเท้าหุ้มข้อ อ้อ..หมวกแนะนำแบบเลนส์ใสจะดีกว่าเพราะถ้าเป็นแบบสีเข้มๆกลางวันสบายจริง แต่กลางคืนหละแย่แน่ ถ้าไม่งั้นแนะนำว่าพกแว่นกันแดดแบบขาตรง ใส่ในหมวกตอนกลางวันจะดีมาก เย็นๆค่อยถอด
     2.1 ข้อนี้เสริมว่า อุปกรณ์ชิ้นนึงที่จะรักษาอนามัยของนักบิดได้คือ " โม่ง " ที่บอกอย่างนี้เพราะว่าการเดินทางไกลๆ นานๆมักจะมีเหงื่อออกมากถึงแม้อากาศจะเย็นก็เถอะ วันแรกของการเดินทางไม่เท่าไหร่ แต่วันที่2 ที่3 สิ หมวกเริ่มมีกลิ่นแล้ว จะซักจะล้างก็คงไม่ได้ เพราะใช้วลานานกว่าจะแห้ง คราวนี้หลายๆคนจะเห็นประโยชน์ของโม่งหละ คือ อย่างแรกกันหนาวได้ดีมาก อย่างต่อมาคือ สามารถถอดซักได้ช่วงเวลากลางคืนหรือช่วงที่ไม่ได้ใช้งาน เอา...พอซักแล้ว วันต่อๆมาก็จะหอมสดชื่น สร้างบรรยากาศในการขี่อีกเยอะ ใครยังไม่เคยใช้ก็ลองดู
3. แนะว่าก่อนเดินทางควรจัดเตรียมอุปกรณ์ต่าง จัดลงกระเป๋าให้พร้อม หมวก ถุงมือ ที่ชาร์ตมือถือ กล้องสารพัดฯลฯ ไว้เลย ล่วงหน้า1วัน เพื่อที่ว่าก่อนออกเดินทางจะได้ไม่ต้องกังวลอะไร เครื่องมือช่างต้องเตรียมไปบ้างเผื่อจะแก้ปัญหาเล็กน้อยถ้ามี อย่าไปหวังคนอื่นมากนัก
4. เครื่องมือที่ต้องมี
- ไขควงแบบสลับดอก
- ประแจเบอร์8-12
- เทปพันสายไฟ
- น๊อตเบอร์ 8 -12 ซักอย่างละตัว-2ตัว
- สเปรย์ฉีดโซ่ ต้องพกครับ ของใครของมัน ยกเว้นรถใช้เพลาก็แล้วไป
-  นอกจากหลักๆนี้ก็ตามแต่จะจำเป็นแต่ละคนไป

เตรียมรถให้พร้อม
1. เช็คลมยาง
2. เช็คน้ำมันเครื่อง ถ้ามีปัญหากินน้ำมันเครื่องก็ต้องพกไปบ้าง แต่ถ้าไม่มีปัญหาอะไรก็เติมเผื่อไว้นิดๆ
3. สายเร่ง สายคลัช ต้องถอดออกมาหล่อลื่นสายหน่อยกันขาดกลางทาง ในเกลียวถ้ามีขาดแม้ซักเส้นนึงต้องเปลี่ยน
4. ระดับน้ำมันเบรค และความหนาผ้าเบรค ถ้าเดินทางไกลมากๆต้องเปลี่ยนไว้ก่อนเพื่อความชัวร์
5. หล่อเย็น ตรวจดูระดับทั้งในหม้อน้ำและหม้อพัก ถ่ายเปลี่ยนใหม่ได้ก็จะดีมาก
6. หัวเทียน รื้อออกมาดูหน่อยว่ายังดีอยู่หรือ อันไหนไม่พร้อม เปลี่ยนออก หรือถ้าดำมากๆก็ให้ลองจูนใหม่
7. ปล๊กจุดต่อของไฟแต่ละจุดให้ฉีดโซเน็คกันชื้น อันไหนมีรอยใหม้ให้เปลี่ยน
8. ขั้วแบ็ตเตอรี่ต้องแน่นไม่หลวมคลอน เช็คไฟซะ
9. ระบบกันสะเทือนหน้าและหลังต้องชัวร์ ลองโยกดูถ้าเดินทางจะปรับให้แข็งขึ้นหน่อยก็ได้ จะดีกว่า
10. ไฟหน้า-หลัง ไฟเลี้ยว ไฟเบรค ต้องใช้งานได้
11. โซ่ ต้องตั้งให้พอดี หล่อลื่นโซ่ให้เรียบร้อย จะพกสเปรย์ไปด้วยก็จะดีมาก
12. สเตอร์หน้าหลังต้องเกิน70%
น่าจะหมดแล้วมั๊งครับ...ทุกอย่างที่บอก ทยอยตรวจเช็คก่อนการเดินทางหลายๆวันนะครับ จะได้ไม่ฉุกละหุก หากมีอะไรผิดพลาดจะได้รีบแก้ไข แล้วถ้าให้ดีอย่าเพิ่งวางใจช่างมาก ให้ทดลองขี่รถดูด้วยตัวเอง จะได้รู้


วันเดินทาง
1. ตื่นเต้นๆ บางคนนอนไม่หลับ
2. เช็คความพร้อมรถและคนอีกครั้ง
3. บอกที่บ้านซักหน่อยว่าจะเดินทางไปไหน กลับเมื่อไหร่ จะได้ไม่ห่วง
4. โทรศัพท์แบ็ตเต็ม เบอร์เพื่อนมีครบ
5. ไปก่อนเวลานัด30นาที
6. เติมน้ำมันให้เต็มถังไปเลย ไม่ต้องเสียเวลาอีก
7. กำหนดเวลานัด เลทได้30นาที หากเกินกว่านี้ให้ทุกคนออกเดิทางเลย แล้วค่อยไปเจอกันที่จุดที่2


ระหว่างทาง
1. การขี่อาจไม่จำเป็นต้องกำหนดผู้นำก็ได้ แต่ใช้วิธีที่ใครชำนาญเส้นทางช่วงนั้นให้ยกให้เป็นคนนำทาง
2. ในเมืองไม่ต้องใช้ความเร็วมากนัก ให้ถือว่าเป็นการวอร์มเครื่องและยางไปในตัว
3. ต้องกำหนดบัดดี้ แบบกลายๆไว้บ้าง ว่าใครขี่ใกล้ใคร จะได้สังเกตุอาการกัน
4. เมื่อเส้นทางเริ่มการจราจรไม่ติดขัดแล้ว ให้ขี่ทิ้งช่วงกันบ้าง5-10 เมตร โดยประมาณ ในลักษณะพันปลา เยื้องๆกัน อย่าขี่เรียงกันในแนวเส้นตรง เพราะคันหลังจะไม่ทราบสภาพถนน อาจชนกันได้
5. เพื่อไม่ให้เบื่อ อาจสลับตำแหน่งกันได้บ้าง คนที่ชำนาญแล้ว ต้องสลับตำแหน่งมาดูเพื่อนๆน้องๆบ้าง ไม่ใช้ลักษณะตัวใครตัวมัน
6. ทุกทางแยก ต้องมี1คัน( คันหน้าสุด)ที่คอยเตือนรถสวนหรือรถที่จะหลงเข้ามาในขบวนให้รู้ว่า มากันหลายคัน
7. ความเร็วเดินทางต้องใกล้เคียงกัน ประมาณ110-140 เพื่อให้เกิดความปลอดภัย และ จะดียิ่งขึ้นถ้าเกาะกลุ่มกันไว้ เพราะแสงสว่างของไฟหน้าจะช่วยบอกรถบนถนนคันอื่นๆว่า อย่าเพิ่งออกมาก ปล่อยให้ขบวนของเราไปก่อน
8. ทุกคนต้องคอยสังเกตุเพื่อนๆในกลุ่ม ว่ามีใครหลุดจากกลุ่มไปบ้างรึเปล่าว
9. มอไซด์คันก่อนสุดท้าย ต้องรอเพื่อนคนท้ายสุดเพื่อบอกทางทุกทางแยกที่เลี้ยว เพื่อไม่ให้มีใครหลงทางหลุดกลุ่มไป
10 . แวะพักทุก 100km.ถ้าเป็นไปได้ เพราะอาจมีเพื่อนใหม่บางคนที่ยังไม่คุ้นรถและการเดินทางไกล จะได้มีเวลาปรับตัว ไม่อ่อนล้าและเพลียจนเกินไป
11. สำคัญมากข้อนี้.... อย่างแรกให้สำคัญในใจไว้ว่า เรามาเที่ยว มาขี่รถ มาชมธรรมชาติ มาได้เพื่อนใหม่ๆ เราไม่ได้มาแข่งกัน ไม่จำเป็นต้องอวดหรือโชว์ว่าข้าหนะเจ๋ง..ฉะนั้น อาจมีบางช่วงคนที่ชำนาญรถ ชำนาญทาง อยากขี่เร็วบ้าง อยากตื่นเต้นทาง ไม่แปลกถ้าจะบิดหายไปตื่นเต้นซักพักนึง แต่หลักๆต้องใส่ใจกัน เรามาด้วยกัน ต้องห่วงกัน ช่วยเหลือกันถ้าทำได้ พี่สอนน้อง น้องเตือนพี่ ทางช่วงไหนอันตรายต้องบอกกัน ชลอความเร็ว คนเก่งอย่าลากเพื่อน ลากน้องไปล้ม ไปตาย บอกเตือนเทคนิคการขี่ถูกต้องกับคนที่ไม่รู้ ให้เค๊าปรับปรุง แล้วรับรองครับว่าทุกคนจะอยากไปกันอีกหลายๆทริป
12. หากเดินทางช่วงเช้าหรือเย็น ต้องระวังให้มาก เพราะเป็นช่วงที่มีกิจกรรมของชาวบ้านระหว่างเส้นทางมาก เช่น เด็กๆถีบจักรยานไปโรงเรียน รถอีแต๋น อีแต๊ก มอเตอร์ไซด์เล็ก หรือแม้กระทั้งสุนัข ต้องระวังให้มากขึ้นเท่าตัว มองไปไกลๆ หากไม่แน่ใจให้ชะลอความเร็วลง อาจให้สัญญาณไฟสูงหรือบีบแตรรถช่วย อย่าชะล่าใจว่าคงจะไม่ ให้นึกกลัวไว้ก่อนดีที่สุด เพราะเกิดอุบัติเหตุช่วงเวลาดังกล่าวกับรถได้เสมอ

การตรวจเช็คกลางทาง เมื่อพักรถ
1. ยาง - ลมยาง
2. โซ่ หย่อนรึเปล่าว โซ่แห้งมั๊ย
3. น๊อตต่างๆทั่วคัน
4. สามารถดับเครื่องได้ทันที
5. เติม95 เว้นแต่จำเป็นก็91ได้บ้าง ( หลังๆมานี่หาเติมยากคงต้อง91เป็นหลัก )
6. เอาหมวกมาเช็คชิวส์ ล้างสิ่งสกปรกออก ( คราบแมลงนี่ระหว่างกลางทางกำลังขี่ ยังไม่จอดถ้าบินมาตายแบบเละๆอย่าเอามือป้ายออกเพราะจะเละกันไปใหญ่ ทิ้งไว้อย่างนั้น จนจอนพักค่อยเช็ดๆออกจะดีกว่า
7. ระดับน้ำมันเครื่องเป็นยังไง ถ้าใครขี่แบบที่ไม่สมบูรณ์คือกินน้ำมันเครื่อง ให้พกติดตัวไปด้วยจะดีมากๆ ยิ่งทางเขาพอลงมาถึงที่หมายแล้ว จอดซักพักก็ให้เช็คได้เลย ถึงใครที่ยังไม่เคยก็ต้องเช็ค แล้วยิ่งระหว่างทางถ้าขามาเงียบๆ ไหง..พอกลางทางเครื่องดังขึ้นๆ อันนี้เดาได้เลยว่าน้ำมันเครื่องพร่องลงไปจนเสียงวาล์วดังขึ้นมา รีบหามาเติมซะ
8. สายรัดของ อุปกรณ์ต่างๆที่มัดมายังดีอยู่หรือ
9. ระดับน้ำมันเบนซินในถัง ถ้าพร่องมากอย่าหวังน้ำบ่อหน้า ให้เติมไว้ก่อน เพราข้างหน้าอาจไม่มีก็ได้
10. เช็คความสนิทสนม คุยๆๆๆๆๆแล้วก็คุย

หากรถมีปัญหา
1. รถเสีย-รถล้ม บัดดี้ของเราจะทราบได้ทันทีไม่เกิน5-10นาทีจากจุดที่เราหายไป
2. อย่าเพิ่งรน ตกใจ กระหน่ำโทรหาเพื่อนทันที เพราะเพื่อนขี่รถอยู่ไม่มีใครได้ยิน ให้รอพักนึง10-15นาที
3. เข็นเข้าข้างทาง หาจุดที่เสียเบื้องต้นก่อน
4. ถ้าจัดการไม่ได้ให้รอเพื่อนซักครู่
5. อันนี้สำคัญ ให้ตั้งสติดีๆ ใจเย็นๆ และคิดในแง่ดีไว้ก่อน เสริมนิดหน่อยว่า ใครที่ใช้รถอยู่ทุกวันแล้วรถก็ไม่เคยเกเร อย่าเพิ่งชล่าใจ  ถ้าทางไกลจริงๆ ใช้เวลาท่องเที่ยวเดินทางหลายวัน ระยะทางไกล อันไหนไม่ชัวร์ เปลี่ยนเลยครับ อย่าเสียดาย เพราะกลางทาง ในป่า ในเขา ต่อให้มีตังค์ก็ซื้อของไม่ได้นะจ๊ะ.......

เสนอแนะเพิ่มเติม
แต่ละคนต้องรับผิดชอบตัวเอง โดยการตรวจเช็ครถ สภาพร่างกาย และเส้นทางให้พร้อม พยายามเป็นภาระกับคนอื่นๆให้น้อยเท่าที่จะทำได้ ขี่ไม่เก่ง ขี่ช้าไปบ้าง อย่าไปเครียด ศึกษาเส้นทางให้ดี จุดแวะพักต้องเข้าใจ การขี่ต้องพัฒนาตัวเองให้ดีขึ้นๆ ไม่ประมาท ช้าหน่อยดีกว่าไปไม่ถึง ให้เกียรติทุกคน จะรถใหม่รถเก่าไม่เป็นไร แต่ขอให้สภาพพร้อมเดินทาง แล้วรับรองครับว่าทริปหนาวนี้ ทุกคนจะได้เพื่อนใหม่มากขึ้น รักกันมากขึ้น แล้วคุณจะรู้สึกกับเพื่อนใหม่เหมือนกับว่าคบกันมาหลายปีแล้ว เชื่อผม....
ขอให้ทุกคนมีความสุข สนุกกับทริปที่จะเดินทางครับผม

ขอขอบคณุข้อคิดดีๆ ที่ได้จาก..... บทความ pum118
"ขอความร่วมมือกัน ให้ใช้ภาพลายเซนต์ที่ไม่ใหญ่เกินไป และ ลิงค์ที่มากจนเกินไป"
http://image.ohozaa.com/main/http://apps.dlt.go.th/carpending/

somrat

อ้างจาก: sodaban เมื่อ พฤศจิกายน 09, 2013, 09:09:29 หลังเที่ยง
อ้างจาก: Tree  khonwan เมื่อ พฤศจิกายน 09, 2013, 07:15:09 หลังเที่ยง
แต่ดูจากสภาพแล้ว ต้องเป็นนักปั้นจริงๆถึงจะ เอาอยู่ 

ได้ยินเสียงตังตกเลยครับ สภาพแห้งๆ (ทั้งคัน)อย่างนี้ ฮ่า ๆ ...

อ้างจาก: somrat เมื่อ พฤศจิกายน 09, 2013, 07:47:49 หลังเที่ยง

อันที่จิงผมชอบดันมากกว่าคับ อิอิิอิ

ว่าที่ เฮียดัน อย่างเดียว ใช่ไหมท่านก้อม  มณีแดง สมบูรณ์ หรือ ยังครับ...


อะไหล่พร้อมเกือบหมอแล้วคับพี่ต้อง แต่ไม่มีเวลาเอารถไปทำคับพี่

somrat

อ้างจาก: sodaban เมื่อ พฤศจิกายน 09, 2013, 10:22:43 หลังเที่ยง
ไปอ่านเจอบทความดีๆ ในการเตรียมตัวจะออกทริป เลยนำมาปรับ ให้เข้ากับการใช้งานของรถพิกัด อย่างเราๆท่านๆ

ลองอ่านดูครับเผื่อ จะมี ข้อคิดดีๆ ที่จะได้นำไปใช้กัน ท่านที่รู้แล้ว ก็นึกเสียว่าทบทวน ท่านที่ยังไม่รู้ ก็จะได้ปรับเตรียมได้ถูก ......


ออกทริปไกลๆยังไง เทคนิคก่อนออกเดินทางไกลๆ

  สวัสดีครับเพื่อนๆ นี่ก็ถึงฤดูการท่องเที่ยวของเหล่าวนักบิด2ล้อ ทั้งเล็กและใหญ่แล้ว เห็นมีเพื่อนๆมือใหม่สอบถามกันมากบ้าง ถึงเรื่องการเตรียมตัว เทคนิคเล็กน้อย ของการออกทริป เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและสนุกสนาน ผมก็เลยต้องเอามะพร้าวห้าวมาขายสวนหรือมาเขียนสอนจระเข้ว่ายน้ำซักหน่อย

เบื้องต้น
1. ศึกษาเส้นทาง ลงทุนซื้อแผนที่หรือดาวโหลดแผนที่ เส้นทาง กันก่อนเดินทาง
2. จดหรือซีรอคแจกทุกคันที่เดินทางไปด้วยกัน
3. กำหนดจุดแวะพัก เติมน้ำมัน ดื่มน้ำ-ทานข้าวกันให้ชัวร์
4. เช็ตกิโลเมตรที่แวะพักไว้เลย ยกตัวอย่างเช่นทุก200Km ปั้มน้ำมันแรกที่เจอทำนองนั้น....
5. ทุกคนต้องทราบเบอร์โทรศัพท์ของกันและกันไว้
6. ทุกคนต้องตรงต่อเวลาและเตรียมพร้อม ตรวจเช็คสภาพรถดีแล้ว
7. สำรองที่พักก่อนออกเดินทาง ในกรณีที่นอนโรงแรมหรือ อุทยานแห่งชาติที่ต่างๆ
8. เงิน..ใครคิดว่าไม่สำคัญ ทุกคนต้องพร้อมจะมากน้อยไม่เป็นไรแต่ต้องพร้อมที่จะแชร์กัน เช่นค่าที่พัก ค่าอาหาร หรือ ค่าดื่ม ฉะนั้นเพื่อให้ดูเป็นกลางและยุติธรรม อาจจะต้องเก็บเงินกองกลางไว้ล่วงหน้า ให้ใครซักคนเป็นคนดูแล อาจเป็นเงินจำนวนไม่มากนัก พอกองกลางหมดแล้วค่อยทยอยเก็บกันใหม่ จะได้ไม่ต้องควักกันทุกครั้ง ส่วนเงินค่าน้ำมันก็ตัวใครตัวมัน สำรองกันให้พอจะได้ไม่ต้องไปหยิบยืมใคร เว้นแต่สนิทกันก็แล้วไป
หมายเหตุ..เสริม ก่อนออกเดินทาง อาจจะมีมิตติ้งเล็กนัดเจอกัน กินข้าว เพื่อคุยรายละเอียด แต่ไม่แนะนำให้ดื่มแอลกอฮอล์แบบหนักๆนะครับ กลางคืนพักผ่อนให้พอ ตื่นเช้ามาจะได้สดชื่น เตรียมอุปกรณ์ต่างๆให้พร้อม จะได้ไม่ต้องมาเสียเวลาหา และแนะนำว่าเส้นทางจะใกล้หรือไกล ออกกันแต่เช้าๆจะดีกว่า รถราไม่เยอะ อากาศไม่ร้อน พอเวลาไม่รีบมากจะแวะกันตรงไหนก็ได้ ตำรวจก็ยังไม่ตั้งด่าน โอ้ย..ดีสารพัด!!
อ้อ..อีกอย่างนึง ปัญหานี้ทุกคนต้องเจอ คือ การไม่ตรงต่อเวลา ฉะนั้นคนนำทริปต้องบังคับแต่ละคนให้รักษาเวลา กำหนดเวลาเดินทาง( ล้อหมุน )ให้แน่นอน เลทได้ไม่เกิน30นาที ถ้ามีใครเกินมาไม่ทัน ให้กำหนดจุดนัดที่2ไว้ อาจจะซัก ชานๆเมืองหรือปั้มอะไรซักที่ๆประมาณ70-100Km จากจุดแรก แล้วใครมาไม่ทันจุกแรกให้รีบทำเวลา ไปยังจุดที่2 แทน  เพราะถ้าไม่กำหนดอย่างนี้ ขืนมาช้ากัน2-3คน ก็ไม่ต้องไปกัน เวลาต้องขยับออกไปอีก ฉะนั้นไม่ต้องโกรธกัน" เราต้องไม่เป็นภาระกับคนอื่นๆ"


เตรียมตัวนักบิด
1. ร่างกายพร้อม กินอาหารรองท้องหน่อย นมซักแก้ว กาแฟซักจอก
2. แต่งกายรัดกุม ตามสภาพภาวะเศรษฐกิจ แต่อย่างน้อย หมวกกันน็อคแบบมาตราฐาน ถุงมือแบบแข็งแรงหน่อย( ไม่แนะนำถุงมือใหม่เพราะยังไม่เข้าที่) เสื้อเจ็กเก็ตหนาๆ  กางเกงยีนส์ รองเท้าหุ้มข้อ อ้อ..หมวกแนะนำแบบเลนส์ใสจะดีกว่าเพราะถ้าเป็นแบบสีเข้มๆกลางวันสบายจริง แต่กลางคืนหละแย่แน่ ถ้าไม่งั้นแนะนำว่าพกแว่นกันแดดแบบขาตรง ใส่ในหมวกตอนกลางวันจะดีมาก เย็นๆค่อยถอด
     2.1 ข้อนี้เสริมว่า อุปกรณ์ชิ้นนึงที่จะรักษาอนามัยของนักบิดได้คือ " โม่ง " ที่บอกอย่างนี้เพราะว่าการเดินทางไกลๆ นานๆมักจะมีเหงื่อออกมากถึงแม้อากาศจะเย็นก็เถอะ วันแรกของการเดินทางไม่เท่าไหร่ แต่วันที่2 ที่3 สิ หมวกเริ่มมีกลิ่นแล้ว จะซักจะล้างก็คงไม่ได้ เพราะใช้วลานานกว่าจะแห้ง คราวนี้หลายๆคนจะเห็นประโยชน์ของโม่งหละ คือ อย่างแรกกันหนาวได้ดีมาก อย่างต่อมาคือ สามารถถอดซักได้ช่วงเวลากลางคืนหรือช่วงที่ไม่ได้ใช้งาน เอา...พอซักแล้ว วันต่อๆมาก็จะหอมสดชื่น สร้างบรรยากาศในการขี่อีกเยอะ ใครยังไม่เคยใช้ก็ลองดู
3. แนะว่าก่อนเดินทางควรจัดเตรียมอุปกรณ์ต่าง จัดลงกระเป๋าให้พร้อม หมวก ถุงมือ ที่ชาร์ตมือถือ กล้องสารพัดฯลฯ ไว้เลย ล่วงหน้า1วัน เพื่อที่ว่าก่อนออกเดินทางจะได้ไม่ต้องกังวลอะไร เครื่องมือช่างต้องเตรียมไปบ้างเผื่อจะแก้ปัญหาเล็กน้อยถ้ามี อย่าไปหวังคนอื่นมากนัก
4. เครื่องมือที่ต้องมี
- ไขควงแบบสลับดอก
- ประแจเบอร์8-12
- เทปพันสายไฟ
- น๊อตเบอร์ 8 -12 ซักอย่างละตัว-2ตัว
- สเปรย์ฉีดโซ่ ต้องพกครับ ของใครของมัน ยกเว้นรถใช้เพลาก็แล้วไป
-  นอกจากหลักๆนี้ก็ตามแต่จะจำเป็นแต่ละคนไป

เตรียมรถให้พร้อม
1. เช็คลมยาง
2. เช็คน้ำมันเครื่อง ถ้ามีปัญหากินน้ำมันเครื่องก็ต้องพกไปบ้าง แต่ถ้าไม่มีปัญหาอะไรก็เติมเผื่อไว้นิดๆ
3. สายเร่ง สายคลัช ต้องถอดออกมาหล่อลื่นสายหน่อยกันขาดกลางทาง ในเกลียวถ้ามีขาดแม้ซักเส้นนึงต้องเปลี่ยน
4. ระดับน้ำมันเบรค และความหนาผ้าเบรค ถ้าเดินทางไกลมากๆต้องเปลี่ยนไว้ก่อนเพื่อความชัวร์
5. หล่อเย็น ตรวจดูระดับทั้งในหม้อน้ำและหม้อพัก ถ่ายเปลี่ยนใหม่ได้ก็จะดีมาก
6. หัวเทียน รื้อออกมาดูหน่อยว่ายังดีอยู่หรือ อันไหนไม่พร้อม เปลี่ยนออก หรือถ้าดำมากๆก็ให้ลองจูนใหม่
7. ปล๊กจุดต่อของไฟแต่ละจุดให้ฉีดโซเน็คกันชื้น อันไหนมีรอยใหม้ให้เปลี่ยน
8. ขั้วแบ็ตเตอรี่ต้องแน่นไม่หลวมคลอน เช็คไฟซะ
9. ระบบกันสะเทือนหน้าและหลังต้องชัวร์ ลองโยกดูถ้าเดินทางจะปรับให้แข็งขึ้นหน่อยก็ได้ จะดีกว่า
10. ไฟหน้า-หลัง ไฟเลี้ยว ไฟเบรค ต้องใช้งานได้
11. โซ่ ต้องตั้งให้พอดี หล่อลื่นโซ่ให้เรียบร้อย จะพกสเปรย์ไปด้วยก็จะดีมาก
12. สเตอร์หน้าหลังต้องเกิน70%
น่าจะหมดแล้วมั๊งครับ...ทุกอย่างที่บอก ทยอยตรวจเช็คก่อนการเดินทางหลายๆวันนะครับ จะได้ไม่ฉุกละหุก หากมีอะไรผิดพลาดจะได้รีบแก้ไข แล้วถ้าให้ดีอย่าเพิ่งวางใจช่างมาก ให้ทดลองขี่รถดูด้วยตัวเอง จะได้รู้


วันเดินทาง
1. ตื่นเต้นๆ บางคนนอนไม่หลับ
2. เช็คความพร้อมรถและคนอีกครั้ง
3. บอกที่บ้านซักหน่อยว่าจะเดินทางไปไหน กลับเมื่อไหร่ จะได้ไม่ห่วง
4. โทรศัพท์แบ็ตเต็ม เบอร์เพื่อนมีครบ
5. ไปก่อนเวลานัด30นาที
6. เติมน้ำมันให้เต็มถังไปเลย ไม่ต้องเสียเวลาอีก
7. กำหนดเวลานัด เลทได้30นาที หากเกินกว่านี้ให้ทุกคนออกเดิทางเลย แล้วค่อยไปเจอกันที่จุดที่2


ระหว่างทาง
1. การขี่อาจไม่จำเป็นต้องกำหนดผู้นำก็ได้ แต่ใช้วิธีที่ใครชำนาญเส้นทางช่วงนั้นให้ยกให้เป็นคนนำทาง
2. ในเมืองไม่ต้องใช้ความเร็วมากนัก ให้ถือว่าเป็นการวอร์มเครื่องและยางไปในตัว
3. ต้องกำหนดบัดดี้ แบบกลายๆไว้บ้าง ว่าใครขี่ใกล้ใคร จะได้สังเกตุอาการกัน
4. เมื่อเส้นทางเริ่มการจราจรไม่ติดขัดแล้ว ให้ขี่ทิ้งช่วงกันบ้าง5-10 เมตร โดยประมาณ ในลักษณะพันปลา เยื้องๆกัน อย่าขี่เรียงกันในแนวเส้นตรง เพราะคันหลังจะไม่ทราบสภาพถนน อาจชนกันได้
5. เพื่อไม่ให้เบื่อ อาจสลับตำแหน่งกันได้บ้าง คนที่ชำนาญแล้ว ต้องสลับตำแหน่งมาดูเพื่อนๆน้องๆบ้าง ไม่ใช้ลักษณะตัวใครตัวมัน
6. ทุกทางแยก ต้องมี1คัน( คันหน้าสุด)ที่คอยเตือนรถสวนหรือรถที่จะหลงเข้ามาในขบวนให้รู้ว่า มากันหลายคัน
7. ความเร็วเดินทางต้องใกล้เคียงกัน ประมาณ110-140 เพื่อให้เกิดความปลอดภัย และ จะดียิ่งขึ้นถ้าเกาะกลุ่มกันไว้ เพราะแสงสว่างของไฟหน้าจะช่วยบอกรถบนถนนคันอื่นๆว่า อย่าเพิ่งออกมาก ปล่อยให้ขบวนของเราไปก่อน
8. ทุกคนต้องคอยสังเกตุเพื่อนๆในกลุ่ม ว่ามีใครหลุดจากกลุ่มไปบ้างรึเปล่าว
9. มอไซด์คันก่อนสุดท้าย ต้องรอเพื่อนคนท้ายสุดเพื่อบอกทางทุกทางแยกที่เลี้ยว เพื่อไม่ให้มีใครหลงทางหลุดกลุ่มไป
10 . แวะพักทุก 100km.ถ้าเป็นไปได้ เพราะอาจมีเพื่อนใหม่บางคนที่ยังไม่คุ้นรถและการเดินทางไกล จะได้มีเวลาปรับตัว ไม่อ่อนล้าและเพลียจนเกินไป
11. สำคัญมากข้อนี้.... อย่างแรกให้สำคัญในใจไว้ว่า เรามาเที่ยว มาขี่รถ มาชมธรรมชาติ มาได้เพื่อนใหม่ๆ เราไม่ได้มาแข่งกัน ไม่จำเป็นต้องอวดหรือโชว์ว่าข้าหนะเจ๋ง..ฉะนั้น อาจมีบางช่วงคนที่ชำนาญรถ ชำนาญทาง อยากขี่เร็วบ้าง อยากตื่นเต้นทาง ไม่แปลกถ้าจะบิดหายไปตื่นเต้นซักพักนึง แต่หลักๆต้องใส่ใจกัน เรามาด้วยกัน ต้องห่วงกัน ช่วยเหลือกันถ้าทำได้ พี่สอนน้อง น้องเตือนพี่ ทางช่วงไหนอันตรายต้องบอกกัน ชลอความเร็ว คนเก่งอย่าลากเพื่อน ลากน้องไปล้ม ไปตาย บอกเตือนเทคนิคการขี่ถูกต้องกับคนที่ไม่รู้ ให้เค๊าปรับปรุง แล้วรับรองครับว่าทุกคนจะอยากไปกันอีกหลายๆทริป
12. หากเดินทางช่วงเช้าหรือเย็น ต้องระวังให้มาก เพราะเป็นช่วงที่มีกิจกรรมของชาวบ้านระหว่างเส้นทางมาก เช่น เด็กๆถีบจักรยานไปโรงเรียน รถอีแต๋น อีแต๊ก มอเตอร์ไซด์เล็ก หรือแม้กระทั้งสุนัข ต้องระวังให้มากขึ้นเท่าตัว มองไปไกลๆ หากไม่แน่ใจให้ชะลอความเร็วลง อาจให้สัญญาณไฟสูงหรือบีบแตรรถช่วย อย่าชะล่าใจว่าคงจะไม่ ให้นึกกลัวไว้ก่อนดีที่สุด เพราะเกิดอุบัติเหตุช่วงเวลาดังกล่าวกับรถได้เสมอ

การตรวจเช็คกลางทาง เมื่อพักรถ
1. ยาง - ลมยาง
2. โซ่ หย่อนรึเปล่าว โซ่แห้งมั๊ย
3. น๊อตต่างๆทั่วคัน
4. สามารถดับเครื่องได้ทันที
5. เติม95 เว้นแต่จำเป็นก็91ได้บ้าง ( หลังๆมานี่หาเติมยากคงต้อง91เป็นหลัก )
6. เอาหมวกมาเช็คชิวส์ ล้างสิ่งสกปรกออก ( คราบแมลงนี่ระหว่างกลางทางกำลังขี่ ยังไม่จอดถ้าบินมาตายแบบเละๆอย่าเอามือป้ายออกเพราะจะเละกันไปใหญ่ ทิ้งไว้อย่างนั้น จนจอนพักค่อยเช็ดๆออกจะดีกว่า
7. ระดับน้ำมันเครื่องเป็นยังไง ถ้าใครขี่แบบที่ไม่สมบูรณ์คือกินน้ำมันเครื่อง ให้พกติดตัวไปด้วยจะดีมากๆ ยิ่งทางเขาพอลงมาถึงที่หมายแล้ว จอดซักพักก็ให้เช็คได้เลย ถึงใครที่ยังไม่เคยก็ต้องเช็ค แล้วยิ่งระหว่างทางถ้าขามาเงียบๆ ไหง..พอกลางทางเครื่องดังขึ้นๆ อันนี้เดาได้เลยว่าน้ำมันเครื่องพร่องลงไปจนเสียงวาล์วดังขึ้นมา รีบหามาเติมซะ
8. สายรัดของ อุปกรณ์ต่างๆที่มัดมายังดีอยู่หรือ
9. ระดับน้ำมันเบนซินในถัง ถ้าพร่องมากอย่าหวังน้ำบ่อหน้า ให้เติมไว้ก่อน เพราข้างหน้าอาจไม่มีก็ได้
10. เช็คความสนิทสนม คุยๆๆๆๆๆแล้วก็คุย

หากรถมีปัญหา
1. รถเสีย-รถล้ม บัดดี้ของเราจะทราบได้ทันทีไม่เกิน5-10นาทีจากจุดที่เราหายไป
2. อย่าเพิ่งรน ตกใจ กระหน่ำโทรหาเพื่อนทันที เพราะเพื่อนขี่รถอยู่ไม่มีใครได้ยิน ให้รอพักนึง10-15นาที
3. เข็นเข้าข้างทาง หาจุดที่เสียเบื้องต้นก่อน
4. ถ้าจัดการไม่ได้ให้รอเพื่อนซักครู่
5. อันนี้สำคัญ ให้ตั้งสติดีๆ ใจเย็นๆ และคิดในแง่ดีไว้ก่อน เสริมนิดหน่อยว่า ใครที่ใช้รถอยู่ทุกวันแล้วรถก็ไม่เคยเกเร อย่าเพิ่งชล่าใจ  ถ้าทางไกลจริงๆ ใช้เวลาท่องเที่ยวเดินทางหลายวัน ระยะทางไกล อันไหนไม่ชัวร์ เปลี่ยนเลยครับ อย่าเสียดาย เพราะกลางทาง ในป่า ในเขา ต่อให้มีตังค์ก็ซื้อของไม่ได้นะจ๊ะ.......

เสนอแนะเพิ่มเติม
แต่ละคนต้องรับผิดชอบตัวเอง โดยการตรวจเช็ครถ สภาพร่างกาย และเส้นทางให้พร้อม พยายามเป็นภาระกับคนอื่นๆให้น้อยเท่าที่จะทำได้ ขี่ไม่เก่ง ขี่ช้าไปบ้าง อย่าไปเครียด ศึกษาเส้นทางให้ดี จุดแวะพักต้องเข้าใจ การขี่ต้องพัฒนาตัวเองให้ดีขึ้นๆ ไม่ประมาท ช้าหน่อยดีกว่าไปไม่ถึง ให้เกียรติทุกคน จะรถใหม่รถเก่าไม่เป็นไร แต่ขอให้สภาพพร้อมเดินทาง แล้วรับรองครับว่าทริปหนาวนี้ ทุกคนจะได้เพื่อนใหม่มากขึ้น รักกันมากขึ้น แล้วคุณจะรู้สึกกับเพื่อนใหม่เหมือนกับว่าคบกันมาหลายปีแล้ว เชื่อผม....
ขอให้ทุกคนมีความสุข สนุกกับทริปที่จะเดินทางครับผม

ขอขอบคณุข้อคิดดีๆ ที่ได้จาก..... บทความ pum118

สุดเรยคับพี่ ต้อง ผมต้อง save เก็บไว้สะแล้วพี่ เอาไว้อ่านกันลืมคับ  :D :D :D :D :D :D :D :D :D :D :D :D :D :D :D :D :D :D :D

kagwangpong

 :D :Dสุดยอดบทความอันเป็นความรู้อย่างยิ่งสำหรับมือใหม่อย่างผม :D :D :'(

tee zx150


somrat



JO WANGPONG


somrat